🌹Palliative Care คือการดูแลผู้ป่วยใน ช่วง 6 เดือนสุดท้าย ก่อนเสียชีวิต
เป็นการเตรียมตัวผู้ป่วยให้อยู่สบาย และพร้อมสําหรับการจากไป ดูแลโดยองค์รวมทั้งทางร่างกายจิตใจและสังคมรอบข้างผู้ป่วย
อาจมีกลุ่ม Long-term Care ที่มีผู้ป่วยติดเตียง อาจจะไม่ได้ถูกวางแผน Pallative care เมืออาหารทรุดลง อาจถูกนําส่งโรงพยาบาลเพือทำ CPR หรือ ใส่เครืองช่วยหายใจ แต่สิงนีอาจไม่ใช่ความต้องการของผู้ป่วยและญาติ
Palliative Care เป็นองค์ความรู้ที่เกิดขึนมาใหม่ในประเทศไทย เกิดขึนในเวลาเพียง 10 ปี
🌹ขอบเขตบริการด้าน Palliative Care ในประเทศไทย
ส่งเสริม/ป้องกันโรง -> รักษา -> ฟืHนฟูสภาพ -> ดูแลแบบประคับประคอง/ระยะท้าย**
สถานณการปัจจุบัน จํานวนผู้ป่วยเข้าสู่บริการ Palliative Care จากปี 2566 -> 2567 เพิ่มมากขึนถึง 40 %
🌹 ปัญหา และความท้าท้ายในกทม.
- ระบบสุขภาพของ กทม. จะแตกต่างจากต่างจังหวัด เช่นจะมีการแยกกันระหว่าง สํานักแพทย์ และสํานักอนามัย
ในระดับสํานักการแพทย์ในกรุงเทพ ยังไม่มี ระบบ PC เลย และไม่มีความสามารถในการลงพื้นทีไปดูผู้ป่วยตามบ้าน เนืองจากเป็นกรอบของ สํานักอนามัย – หมอโดยเฉพาะอย่างยิ่ง หมอเฉพาะทางในโรงพยาบาลใหญ่ๆในกรุงเทพ ยังไม่เข้าใจในด้านของ PC จะเข้าใจว่าเป็น หน้าที่ ของนักสังคมสงเคราะห์
🌹ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ที่แพทย์ แพทย์มีเวลาน้อย ไม่อยากจะยุ่งกับคุณไข้ ไม่อยากจะยุ่งกับญาติ
แพทย์ ต้องปรับเปลียน คำพูดทีใช้สือสารกับคนไข้และญาติ
“คุณเป็นมะเร็ง อยู่ได้อีก 6 เดือน” เปลียนเป็น “คุณเป็นมะเร็ง ถ้าควบคุมอาหารและกินยาตรงเวลา จะสามารถอยู่ได้ 6 เดือนขึ้นไป” เป็นต้น
🌹”แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว” individual problem -> community problem -> national problem
ปัญหาใหญ่ของประเทศคือ กรุงเทพกับต่างจังหวัด ใช้คนละ Model กันเลย กรุงเทพ คนไข้มักถูกส่งตัวไปหา Specialist แต่ที่ต่างจังหวัด ทุกอย่างคือ Family Medicine ค่าใช้จ่ายในการรับยาและการรับการรักษาของโรงพยาบาลในกรุงเทพ จึงสูงกว่าต่างจังหวัดมาก